โรงพยาบาลเปือยน้อย จ.ขอนแก่น

แผนกลยุทธ์ตามเข็มมุ่ง ปี 2565

แผนกลยุทธ์ตามเข็มมุ่ง ปี 2565 โรงพยาบาลเปือยน้อย 5 ข้อที่ได้วางไว้ เพื่อนำพาองค์กรใช้เป็นแนวทางในการมุ่งหวัง และพัฒนาระบบริการ

1) พัฒนาระบบบริการด้านสุขภาพในหน่วยบริการและชุมชนตามปกติวิถีใหม่ New Normal

2) เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID -19  

3) ควบคุม DM/HT ให้อยู่ในเกณฑ์ ปกติ 

4) การให้บริการผู้ป่วยStroke/MI ได้ทันเวลา 

5) ลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์

ตารางแสดง  แผนกลยุทธ์ตามเข็มมุ่ง ปี 2565

ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

กลยุทธ์

แผนงาน/โครงการ           ปีงบ 2565

ผู้รับผิดชอบ

1.พัฒนาระบบบริการด้านสุขภาพในหน่วยบริการและชุมชนตามปกติวิถีใหม่ New Normal ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19 

เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด 19)ในพื้นที่

1.ประชาชนที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาล มีการรับรู้และเข้าใจในการป้องกันโรค COVID-19 มากกว่าร้อยละ 85

2.การให้บริการในคลินิก ARI สามารถดำเนินการได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน เพื่อการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ

ไม่มีการระบาดโรคโควิด 19 ในพื้นที่

-สร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชน

– สนับสนุนให้บุคลากรและประชาชนปฏิบัติตามหลัก DMHTT

-จัดบริการคลินิก ARI ให้เป็นไปตามมาตรฐาน

– ดำเนินตามมาตรการ COVID FREE SETTING vย่างเข้มข้น

(อยู่ระหว่างการบันทึก ตรวจสอบแผนงาน และอนุมัติในระบบ ของ สสจ.ขก)

1.กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิฯ

2.กลุ่มงานการพยาบาล

2.ควบคุม DM/HT ให้อยู่ในเกณฑ์ ปกติ  

ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงได้รับบริการที่มีคุณภาพ สามารดูแลตนเองเพื่อการควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตสูงได้ดี ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน

1.ร้อยละของผู้ป่วย DM และ HT ได้รับการคัดกรอง CKD ≥ ร้อยละ 90      ≥  90 %

2.ร้อยละการคุมระดับน้ำตาลได้ดี FBS  >40%

3.ร้อยละผู้ป่วย HT ที่ควบคุมความดันโลหิต ได้ไม่เกิน130/80 mmHg            >60%

4.ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อนทางไตระดับ 3 ขึ้นไป      <10%

5.ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อนระบบประสาท neuropathy        <10%

6.ร้อยละของผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง Cataract ≥ ร้อยละ 80 ≥  80 %

7.ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราลดลงของ eGFR<4ml/min/1.73m2/yr ≥ ร้อยละ 65            ≥  65 %

1.ผู้ป่วยเบาความและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมน้ำตาลและความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ดี

2.ลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความกันโลหิตสูง

1.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง

2.การติดตามเยี่ยมประเมิน ติดตาม ควบคุมกำกับกลุ่มเสี่ยงที่ไม่สามารถปฏิบัติตนในการควบคุมระดับน้ำตาลและความกันโลหิตได้ดี

(อยู่ระหว่างการบันทึก ตรวจสอบแผนงาน และอนุมัติ ในระบบ ของ สสจ.ขก)

1.กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิฯ

2.กลุ่มงานการพยาบาล

3.การให้บริการผู้ป่วยStroke/MI ได้ทันเวลา 

ผู้ป่วย Stroke/MI สามารถเข้าถึงบริการได้อย่างรวดเร็วและการบริการมีประสิทธิภาพ

1.ร้อยละผู้ป่วยที่สงสัยมีภาวะหัวใจขาดเลือดได้รับการทำ EKG ภายใน 10 นาที (door to EKG) 100%

2.การเสียชีวิตของผู้ป่วย acute MI ใน ร.พ.0 ราย

3.ร้อยละของผู้ป่วยวิกฤติ MI, Stroke ที่เข้าถึงระบบ EMS 100%

1.ผู้ป่วย Stroke/MI สามารถเข้าถึงบริการได้ทันท่วงที

2.การให้การักษาเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน

1.ประชาสัมพันธ์ในทุกหมู่บ้าน เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชน

2.มีช่องทางการเข้าถึงบริการได้อย่างรวดเร็ว

3. ผู้ให้การรักษาพยาบาลมีการทบทวน Case MI, Stroke  ที่มารับบริการทุกราย

(อยู่ระหว่างการบันทึก ตรวจสอบแผนงาน และอนุมัติ ในระบบ ของ สสจ.ขก)

1.กลุ่มงานการแพทย์

2.กลุ่มงานการพยาบาล

4.ลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์

หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน

1.ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยง≥ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

2.ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุน้อยกว่า 20 ปี(ไม่เกินร้อยละ10)หรือลดลงร้อยละ2

3. ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์​ไม่เกินร้อยละ 10

1.ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ลดลงน้อยกว่าเกณฑ์ที่กำหนด

2.การตั้งครรภ์ซ้ำในกลุ่มวัยรุ่นไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด

1.การจัดทำระบบ DOT Iodine

2.การสร้าสงเครือข่ายในชุมชนเพื่อการเฝ้าระวังเยาวชนกลุ่มเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พร้อม

 

(อยู่ระหว่างการบันทึก ตรวจสอบแผนงาน และอนุมัติ ในระบบ ของ สสจ.ขก)

กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิฯ

 

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *